รถรับจ้างขนส่งสินค้า กับบทบาทของภาครัฐในการพัฒนาและส่งเสริมบริการ

รถรับจ้างขนส่งสินค้า กับการพัฒนาและส่งเสริมบริการจากรัฐบาล

รถรับจ้างขนส่งสินค้า กับการพัฒนาระบบขนส่งสินค้าและโซ่อุปทานของภาคธุรกิจไทย เป็นภารกิจที่มีต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายแต่จำเป็นต้องดำเนินการอย่างประสานสอดคล้องกันในลักษณะบูรณาการทั้งในเชิง เป้าหมาย วิธีการ และช่วงเวลา เพื่อให้เกิดผลลัพธ์จากการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพและมีความยั่งยืน ตอบโจทย์การสร้างความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการ ดังนั้น เพื่อให้แผนยุทธศาสตร์ฯ ฉบับนี้ สามารถตอบโจทย์การพัฒนาที่ระบุไว้ข้างต้นและเป็นแผนที่มีพลังในการส่งเสริมให้เกิดกระบวนการนำแผนไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล จึงเห็นควรกำหนดเป็นหลักการของแผนยุทธศาสตร์ฯ สำหรับบูรณาการทั้งประเด็นเนื้อหาของแผนฯ และการดำเนินงานในขั้นปฏิบัติการของภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

แผนยุทธศาสตร์ฯ จากภาครัฐในการปรับปรุงระบบขนส่งสินค้า จัดทำขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานซึ่งมีพื้นฐานอยู่บนข้อจำกัดของทรัพยากรของแต่ละภาคส่วนสามารถ บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายได้อย่างแท้จริง เต็มศักยภาพและสร้างผลกระทบได้สูง ดังนั้นจึงเน้นประเด็น การพัฒนาที่มีความสำคัญ โดยให้น้ำหนักกับแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ไม่เท่ากันในเชิงปริมาณแต่เน้นความสำคัญในเชิงคุณภาพที่มีผลต่อการสร้างผลกระทบมากกว่า

การกำหนดภารกิจและแนวทางการพัฒนาการขนส่ง ในแต่ละระดับเน้นประเด็นการพัฒนาที่มีการบูรณาการของเนื้องาน มากกว่าการกำหนดตามภารกิจของหน่วยงานที่เป็นเอกเทศ เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตระหนักและเห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการพัฒนาอย่างบูรณาการและเป็นเอกภาพภายใต้บทบาทและอำนาจหน้าที่ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการกำหนดภาระรับผิดชอบของหน่วยงานจึงอาจมีลักษณะข้ามประเด็นและข้ามสาขาหน่วยงาน

การพัฒนาของภาครัฐที่ส่งผลต่อกิจการ บริษัทขนส่งสินค้า ในช่วงที่ผ่านมาและแนวโน้มในอนาคตจะต้องคำนึงถึงคุณค่าที่สังคมทั้งในระดับสากลและระดับประเทศให้ความสำคัญมากขึ้นคือการสร้างสังคมที่อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ความตื่นตัวในเรื่องการอนุรักษ์พลังงาน การมีชีวิตอย่างมีคุณภาพ และการให้คุณค่าความเป็นมนุษย์กับคนทุกระดับ ทั้งหมดนี้เป็นค่านิยมที่จะต้องคำนึงถึงในการกำหนดแนวทางการพัฒนาการขนส่งสินค้าและโซ่อุปทานของประเทศไทยในช่วงต่อไป

กลไกของภาครัฐ ซึ่งเป็นที่ปรากฏชัดว่าการพัฒนาในช่วงที่ผ่านมากลไกของภาครัฐซึ่งถูกผูกมัดด้วยกฏระเบียบต่างๆ ทำให้มีระบบการบริหารจัดการที่ไม่สนับสนุนความคิดริเริ่ม และการแบกรับภาระความเสี่ยงในการแก้ไขปัญหาที่ต้องการบทบาทผู้นำที่เข้มแข็ง

รถรับจ้าง ขนส่งสินค้า มีปัญหาหลายอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการสร้างความสามารถในการแข่งขันให้กับภาคเอกชน จึงทับซ้อน สะสม และแก้ไขยากขึ้นจนส่งผลกระทบให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรเพื่อแก้ไขปัญหาที่บิดเบี้ยวขาดประสิทธิผล และขาดประสิทธิภาพไปทั้งระบบ ดังนั้น เพื่อปรับแนวทางการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาระบบขนส่งสินค้าและโซ่อุปทานของประเทศให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และตอบสนองต่อความจำเป็นของภาคธุรกิจที่จำเป็นต้องทันกับสถานการณ์ที่มีพลวัตการแข่งขันสูง จึงควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนในฐานะผู้ใช้บริการเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในกระบวนการพัฒนา ตั้งแต่ขั้นตอนการกำหนดเป้าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา การนำแผนงาน/โครงการไปสู่การปฏิบัติ และการ

ติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ที่เกิดจากการพัฒนาระบบ

การวางเป้าหมายแห่งความสำเร็จของแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย3 เป้าหมายแห่งความสำเร็จหรือสามเหลี่ยมแห่งความสำเร็จ ดังนี้

1.ตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ ประเทศไทยควรวางบทบาทตนเองเป็นศูนย์กลางธุรกรรมการค้าและบริการของกลุ่มประเทศลุ่มแม่น้ำโขงและเป็นประตูการค้าสู่ตลาดเอเชีย เพื่อให้สอดคล้องกับศักยภาพและหลักความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ

และนำไปสู่ความร่วมมือและการเติบโตที่ยั่งยืนร่วมกันในภูมิภาค

2.เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ

การเพิ่มประสิทธิภาพ และความสามารถในการตอบสนองลูกค้าของระบบโลจิสติกส์ ทั้งในระดับสถานประกอบการระดับกลไกและกระบวนการ อำนวยความสะดวกทางการค้าของประเทศ

การสร้างความเข้มแข็ง และมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจไทยในโซ่อุปทาน

การเติบโต ที่ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศและระดับภูมิภาค

3.ผลสัมฤทธิ์สุดท้าย การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคธุรกิจและการสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจร่วมกันบนพื้นฐานของการมีภาคธุรกิจที่เข้มแข็งมีการกระจายโอกาสทางเศรษฐกิจ รวมถึงการคำนึงถึงคุณค่าที่สังคมต้องการทั้งเรื่องของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน การมีชีวิตอย่างมีคุณภาพ และการให้คุณค่าความเป็นมนุษย์กับคนทุกระดับ ท้ายที่สุดจะก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่บูรณาการไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนร่วมกันอย่างยั่งยืนในภูมิภาค

เป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทยเพื่อเพิ่มโอกาสและศักยภาพในการเก็บเกี่ยวมูลค่าเพิ่มจากโซ่อุทานมีกลยุทธ์หลัก คือการส่งเสริมบทบาทของเกษตรกรและผู้ประกอบการเกษตรในโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหารจากต้นน้ำถึงปลายน้ำ ด้วยการ

1)พัฒนาทักษะการบริหารจัดการ รถขนส่งสินค้า ในระดับฟาร์มให้กับกลุ่มและสถาบันเกษตรกรเพื่อลดต้นทุนในกระบวนการและเพิ่มศักยภาพให้เกษตรกรในการเข้าร่วมจัดการและเก็บเกี่ยวมูลค่าเพิ่มจากโซ่อุปทานของตนเองมากขึ้น

2)ส่งเสริมการพัฒนาสถาบันเกษตรกรให้ทำหน้าที่เป็นกลไกการจัดการธุรกิจ ให้กับเกษตรกร เพื่อสนับสนุนกิจการจัดหาวัตถุดิบ/ปัจจัยการผลิต การใช้ทรัพยากรการผลิตร่วม การเพิ่มขีดความสามารถในการเข้าถึงแหล่งทุน การควบคุมคุณภาพผลผลิตการรวบรวม การจัดการด้านตลาด การซื้อขาย และการกระจายหรือจัดส่งผลผลิตให้ถึงมือผู้ซื้อปลายทาง ตลอดจนร่วมมือระหว่างสถาบันเกษตรและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในโซ่อุปทานเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรของผู้ประกอบการไทยตลอดโซ่อุปทาน

การเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการโซ่อุปทานให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยและธุรกิจบริการที่มีศักยภาพสูงด้วยการ

1)บริการ รถรับจ้างขนส่งสินค้า กับการสร้างความเป็นมืออาชีพด้านการจัดการโลจิสติกส์ให้กับภาคอุตสาหกรรมโดยการส่งเสริม การใช้เครื่องมือประเมินและพัฒนาประสิทธิภาพ ภารกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์การพัฒนา การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการไทยในการเก็บเกี่ยวมูลค่าเพิ่มจากโซ่อุปทาน เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการโซ่อุปทานการดำเนินงานทั้งในระดับองค์กรและระดับโซ่อุปทานสำหรับสถานประกอบการในแต่ละอุตสาหกรรมรายสาขาพัฒนาบุคลากรทั้งในด้านความรู้และทักษะทั้งระดับบริหารจัดการและระดับปฏิบัติการให้ได้มาตรฐานสากล สนับสนุนการพัฒนาระบบงานมาตรฐาน และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมในการปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการทำงาน รวมทั้งสนับสนุนการใช้บริการจากผู้ให้บริการบุคคลที่สาม ที่ได้มาตรฐานมืออาชีพ

2)ส่งเสริม รถรับจ้างขนส่งสินค้า และช่วยให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยธุรกิจในโซ่อุปทานของสินค้าอุตสาหกรรมตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงผู้บริโภคเพื่อยกระดับความสามารถใน การแข่งขันร่วมกันตลอดโซ่อุปทาน เช่นการรณรงค์ให้ประชาชนและผู้ประกอบการมีความตื่นตัวต่อการบังคับใช้ “พ.ร.บ.ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.2551”

เพื่อให้เป็นแรงกระตุ้นกลับไปสู่ผู้ประกอบการผลิตทั้งปลายน้ำ กลางน้ำ และต้นน้ำให้มีความร่วมมือกันปรับปรุง และควบคุมคุณภาพสินค้าให้ดียิ่งขึ้นการส่งเสริม สำหรับการสร้างความร่วมมือในโซ่อุปทาน เพื่อผู้ประกอบการไทยจะได้เรียนรู้และเข้าใจบทเรียนจากผู้ประกอบการอื่นและแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานสากล

3)สนับสนุนการสร้างปัจจัยเอื้อเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยการสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคีในโซ่อุปทาน

4)ส่งเสริมการประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการ บริษัทขนส่งสินค้า และโซ่อุปทานที่มีประสิทธิภาพในสาขาบริการที่มีศักยภาพสูงโดยเฉพาะสาขาบริการท่องเที่ยว และบริการสุขภาพ เพื่อรองรับการเติบโตของนักท่องเที่ยวและการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและสร้างมูลค่าเพิ่มจากบริการสุขภาพได้มาตรฐานระดับโลก

รถรับจ้าง ขนส่งสินค้า และบทบาทของภาครัฐ
รถรับจ้าง ขนส่งสินค้า และบทบาทของภาครัฐ ในการส่งเสริมให้มีความเข้มแข็งและ แข่งขันได้ในตลาดโลก

ประเภทธุรกิจและกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่เมืองชายแดน ที่มีการติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านเป็นกลไกสำคัญทำให้การเชื่อมโยงทางการค้ากับประเทศเพื่อนบ้านมีการกระจายผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ระหว่างกลุ่มประเทศในGMS (Greater Mekong Subregion) และเอเชีย โดยมีกลยุทธ์หลัก 4 ประการคือ

ส่งเสริมการลงทุนพัฒนาพื้นที่การค้าและบริการในเขตเมืองที่ห่างจากพื้นที่ชายแดน ประมาณ 30-50 กิโลเมตร

เพื่อรองรับการขยายตัวทางการค้าบริเวณชายแดน โดยพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศ เพื่อนบ้าน ได้แก่ ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคที่มีคุณภาพดี บริการโลจิสติกส์บริการสุขภาพ บริการฝึกอบรม และบริการการศึกษาขั้นสูง

พัฒนาจุดผ่านแดนถาวร/ชั่วคราว/จุดผ่อนปรน ที่มีศักยภาพทางการค้าให้เป็นด่านถาวรที่ได้มาตรฐานสากล

แยกจุดตรวจการผ่านแดนของคนและสินค้าออกจากกันเพื่อสร้างช่องทางการค้าที่ถูกกฎหมายบริเวณชายแดน กระตุ้น

ให้เกิดการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ทางการค้าในโซ่อุปทานของภูมิภาคที่ยั่งยืน โดยอาศัยหลักการพื้นฐานความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ ทำให้เกิดผลลัพธ์การพัฒนาที่ได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน รวมทั้งจัดตั้ง “หน่วยงานส่งเสริมการค้าและโลจิสติกส์” ที่จุดผ่านแดน ทำหน้าที่รวบรวมองค์ความรู้ จัดทำคู่มือส่งเสริมการค้าและระเบียบพิธีการและกระบวนการค้าการขนส่งที่ด่านชายแดนกับแต่ละประเทศเพื่อนบ้าน อย่างไรก็ตาม การเปิดด่านถาวรดังกล่าวจะต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อมของสถานการณ์ในพื้นที่ รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาด่านถาวรของประเทศเพื่อนบ้านให้ได้มาตรฐานสากลเช่นเดียวกัน

สนับสนุนการขยายฐานการผลิตและโซ่อุปทานของธุรกิจ ไปยังเมืองชายแดนของประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ อาชีพ และยกระดับกำลังซื้อของประเทศเพื่อนบ้านและใช้ประโยชน์จากต้นทุนของโซ่อุปทานที่ลดลงเนื่องจากค่าจ้างแรงงานที่ต่ำกว่าและได้รับสิทธิประโยชน์ GSP

การส่งเสริมธุรกิจการค้าและบริการ รถรับจ้าง ขนส่งสินค้า ในพื้นที่เมืองชายแดน เช่นการสนับสนุนการพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมทวาย เพื่อขยายฐานการผลิตของไทยเข้าไปเป็นส่วนประกอบหลักของโซ่อุปทานของภูมิภาคและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมปลายน้ำในประเทศ โดยภาครัฐเข้าไปมีบทบาทในการร่วมวางแผนการพัฒนาและจัดตั้งองค์กรร่วม เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนา และสนับสนุนภาคเอกชนไทยเป็นผู้ลงทุนหรือร่วมลงทุนในการผลิตหรือให้บริการในนิคมอุตสาหกรรมทวาย ในขณะเดียวกันเห็นควรสนับสนุนการพัฒนาบริการพื้นฐานทางเศรษฐกิจเชื่อมโยงเส้นทางสู่ทวายอย่างเป็นขั้นตอนเพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มการลงทุนการค้าที่จะเกิดขึ้นในอนาคตโดยให้ความสำคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพบริการขนส่งหรือเครือข่าย รถรับจ้าง ขนส่งสินค้า ที่เชื่อมโยงตลอดทั้งต้นทางและปลายทางของเส้นทางขนส่งสินค้า ที่มีการบริการ รถขนส่งสินค้า และจราจรหนาแน่น โดยปรับลดเส้นทางที่ขาดหาย หรือคอขวด ในเส้นทางขนส่งหลัก และเส้นทางสำรองรองรับการหยุดชะงักของโซ่อุปทานจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ในการขนส่งสินค้าความปลอดภัยและการอำนวยความสะดวกในระหว่างการขนส่ง รวมทั้งสนับสนุนให้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการขนส่งไปสู่รูปแบบการขนส่งที่ประหยัดพลังงาน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสอดคล้องกับความต้องการของภาคธุรกิจ โดยมีกลยุทธ์หลัก คือการเพิ่มขีดความสามารถและความปลอดภัยของการขนส่งสินค้าทางบกสู่ประตูการค้าหลัก โดยการพัฒนารถไฟทางคู่บนเส้นทางขนส่งหนาแน่น การพัฒนาระบบให้บริการขนส่งทางรางบริการยกขนตู้ในบริเวณท่าเรือแหลมฉบัง และปรับปรุงประสิทธิภาพบริการขนส่งทางรถไฟด้วยการจัดหาหัวรถจักร/แคร่ให้เพียงพอกับความต้องการเพิ่มบทบาทภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการให้บริการ ตลอดจนการปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย

รถขนส่งสินค้า กับการยกระดับประสิทธิภาพระบบอำนวยความสะดวกทางการค้า

พัฒนาบริการ ขนส่งสินค้า และเครือข่ายโลจิสติกส์ตามเส้นทางถนนสายหลักที่เชื่อมโยงแหล่งผลิตไปสู่ประตูการค้าและการพัฒนาคนขับรถบรรทุกให้ได้มาตรฐานประสิทธิภาพและความปลอดภัย และส่งเสริมการเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งไปสู่ทางลำน้ำ และพัฒนาระบบท่าเรือหลักและบริการเรือชายฝั่งเพื่อการประหยัดพลังงาน ด้วยการศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมการพัฒนาเขื่อนยกระดับในแม่น้ำเจ้าพระยา และสนับสนุนการพัฒนาลำน้ำสาขาเชื่อมโยงเส้นทางหลัก รวมทั้งปรับปรุงท่าเรือเดิมหรือพัฒนาท่าเรือใหม่เพื่อเป็นท่าเรือเฉพาะสำหรับเรือชายฝั่งและกำหนดอัตราค่าบริการหน้าท่าให้จูงใจให้เอกชนมาใช้บริการ ตลอดจนสนับสนุนให้มีการพัฒนาท่าเรือชายฝั่งทะเลตะวันตก เพื่อเป็นทางเลือกในการเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งสินค้าที่ออกจากภาคใต้ไปสู่ท่าเรือสิงคโปร์ รวมทั้งขยายความสามารถและพัฒนาบทบาทของสนามบินสุวรรณภูมิให้เป็นประตูการค้าที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ส่งเสริมแผนการลงทุนในระยะ 2 ระยะ 3 และ ปรับปรุงบริการอำนวยความสะดวก และธุรกิจให้บริการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมโลจิสติกส์ในบริเวณสนามบินโดยเฉพาะบริการเขตปลอดอากร ให้มีกระบวนการที่ง่ายเป็นอัตโนมัติ รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มที่แท้จริงให้กับธุรกิจ ทั้งนี้ต้องส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเครือข่ายและเขตอุตสาหกรรมบริการเชื่อมโยงการขนส่งสินค้าหลายรูปแบบและอุตสาหกรรมให้บริการ รถรับจ้าง ขนส่งสินค้า เพื่อให้การก่อสร้างบริการพื้นฐานตรงกับความต้องการของภาคเอกชนและธรรมชาติของการดำเนินธุรกิจนั้นๆ อาทิ การให้เอกชนเป็นผู้ลงทุนศูนย์กระจายสินค้า จุดพักรถบรรทุก ลานตู้เปล่า ลานบรรจุสินค้า การให้ผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนและออกแบบการก่อสร้างท่าเรือหรือบริการอื่นๆ รวมทั้งเปิดโอกาสให้มีการพัฒนาศูนย์บริการเปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งที่ดำเนินการโดยภาคเอกชน และส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนเส้นทางสำรองการ ขนส่งสินค้า รองรับการหยุดชะงักของโซ่อุปทานจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ในกรณีฉุกเฉินโดยเร่งรัดดำเนินการพัฒนาระบบ National Single Window (NSW) อย่างต่อเนื่องจนได้ระบบสมบูรณ์และมีระบบการบริหารจัดการที่ชัดเจนรองรับโดยมีกลยุทธ์หลัก 3 ประการคือ

1.เร่งรัดการพัฒนาและขยายการเชื่อมโยง NSW ที่เกี่ยวกับธุรกรรมเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐ

ไปสู่กลุ่มผู้ประกอบการขนส่งผ่านท่า และส่งเสริมการพัฒนาระบบ NSW และ e-Logistics ในประเทศเพื่อนบ้าน

ทั้งท่าเรือ ท่าอากาศยาน และด่านชายแดนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งระหว่างประเทศด้วยการเชื่อมโยงระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้เกี่ยวข้องในกลุ่มการขนส่ง ทั้งที่เกี่ยวกับสินค้าและบุคลากรผู้ให้บริการ ผ่านแดนกับระบบ NSW

รวมถึงการผลักดันให้หน่วยงานภาครัฐที่ให้บริการที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า-ส่งออก มีการปรับปรุงกระบวนการทำงาน

ให้มีประสิทธิภาพและอำนวยความสะดวกให้กับผู้ประกอบการอย่างบูรณาการ ทั้ง G2G B2G และ B2Bตลอดจนเพื่อเตรียมความพร้อมการเชื่อมโยงเป็นระบบ ASEAN Single Window โดยการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับประเทศเพื่อนบ้าน

2.ดำเนินการจัดตั้งองค์กรกำกับบริหารการจัดการระบบ NSW ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ระบบ NSW มีรูปแบบการบริหารธุรกิจ (Business Model) ที่เหมาะสมและสามารถอำนวยความสะดวกให้กับผู้ประกอบการนำเข้า-ส่งออกและมีความเป็นธรรมกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

3.ผลักดันการออกกฎหมาย อาทิ พระราชกฤษฎีกาการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ NSW และพระราชบัญญัติสิ่งอำนวยความสะดวกข้ามแดน เพื่ออำนวยความสะดวกในการนำเข้า-ส่งออกและการขนส่งสินค้าข้ามแดนได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายและเป็นที่ยอมรับของผู้เกี่ยวข้อง

ถ้าหากเว็บของเรามีประโยชน์? โปรดช่วยกันบอกต่อ :)